xs
xsm
sm
md
lg

Star trails

ภาพถ่ายดาราศาสตร์ภาพไหนบ้าง ที่ไม่ควรพลาดร่วมส่งประกวดปีนี้
ภาพถ่ายดาราศาสตร์ภาพไหนบ้าง ที่ไม่ควรพลาดร่วมส่งประกวดปีนี้
สำหรับคอลัมน์นี้จะขอแนะนำภาพถ่ายดาราศาสตร์ทั้ง 5 ประเภท ที่ไม่ควรพลาดร่วมส่งประกวด ซึ่งปีที่ผ่านมารวมทั้งในปีนี้ก็มีวัตถุท้องฟ้าและปรากฏการณ์ดาราศาสตร์ที่น่าสนใจมากมาย รวมทั้งปรากฏการณ์ท้องฟ้าในชั้นบรรยากาศโลกที่เกิดขึ้น ซึ่งนักดา
ภาพถ่ายดาราศาสตร์บอกคุณภาพท้องฟ้าได้อย่างไร?
ภาพถ่ายดาราศาสตร์บอกคุณภาพท้องฟ้าได้อย่างไร?
กิจกรรมนี้เรามีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับเขตอนุรักษ์ท้องฟ้ามืดผ่านกิจกรรมถ่ายภาพ เรียนรู้วิธีสังเกตการณ์วัตถุท้องฟ้าในช่วงเวลาต่าง ๆ ซึ่งภาพถ่ายดาราศาสตร์นั้น เราสามารถนำมาใช้บ่งบอกถึงคุณภาพท้องฟ้าในสถานที่ต่างๆ
เล่าประสบการณ์กิจกรรมอบรมถ่ายภาพดาราศาสตร์ Astrophotography Marathon 2018
เล่าประสบการณ์กิจกรรมอบรมถ่ายภาพดาราศาสตร์ Astrophotography Marathon 2018
ในคอลัมน์นี้ขออนุญาตเล่ากิจกรรมอบรมถ่ายภาพดาราศาสตร์ในรูปแบบมาราธอนในช่วงเดือนมีนาคมที่ผ่านมา สำหรับกิจกรรมนี้ผมใช้ชื่อว่า Astrophotography Marathon 2018 ซึ่งเราจัดกันในรูปแบบการถ่ายภาพในช่วงเวลาที่ต่างกัน โดยเริ่มถ่ายภาพกันตั้งแต่ช่วงเย็นจนถึงเช้า เรียกว่าไม่ต้องนอนกันเลยทีเดียว เพราะทุกช่วงเวลาท้องฟ้ามีการเปลี่ยนแปลงตลอด ทำให้สามารถถ่ายภาพทั้งกลุ่มดาว ปรากฏการณ์ วัตถุท้องฟ้าต่างๆ ได้ตลอดทั้งคืน
เก็บมาฝากเทคนิคสำคัญในคืนอบรมถ่ายภาพ Astrophotography Marathon 2017
เก็บมาฝากเทคนิคสำคัญในคืนอบรมถ่ายภาพ Astrophotography Marathon 2017
ในช่วงปลายเดือนมีนาคมที่ผ่านมาผมได้จัดกิจกรรมอบรมถ่ายภาพดาราศาสตร์ ภายใต้หัวข้อ “Astrophotography Marathon 2017” ซึ่งในกิจกรรมนี้มีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมจำนวนมาก โดยรับสมัครเพียง 80 ท่านเท่านั้น และในปีนี้เราเริ่มเปิดให้ลงทะเบียนตั้งแต่ เวลา 9:00 น. ของวันที่ 9 มีนาคม มีผู้ลงทะเบียนเต็มจำนวนภายในเวลาเพียง 4 นาทีเท่านั้น
เตรียมตัวให้ฟิต เพื่อพิชิต Workshop ถ่ายภาพดาราศาสตร์มาราธอน
เตรียมตัวให้ฟิต เพื่อพิชิต Workshop ถ่ายภาพดาราศาสตร์มาราธอน
ในคอลัมน์นี้ผมขออนุญาตประชาสัมพันธ์โครงการถ่ายภาพดาราศาสตร์น่าสนใจ ที่สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ จัดขึ้น ได้แก่ “Workshop ถ่ายภาพดาราศาสตร์มาราธอน” ในปีนี้กำหนดจัดในวันเสาร์ที่ 25 มีนาคม 2560 ยาวไปจนถึงรุ่งเช้า 26 มีนาคม 2560 สถานที่ฝึกปฏิบัติใน Workshop ครั้งนี้ คือ บริเวณพระมหาธาตุนภเมทนีดลและพระมหาธาตุนภพลภูมิสิริ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งถือเป็นจุดถ่ายภาพทางดาราศาสตร์ที่มีท้องฟ้าดีที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย
มีดวงดาวรออยู่ในช่วงปลายฝนต้นหนาว
มีดวงดาวรออยู่ในช่วงปลายฝนต้นหนาว
หลังจากเดือนนี้เป็นต้นไปเมืองไทยของเราก็น่าจะเข้าสู่ช่วงฤดูหนาว ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า สภาพท้องฟ้าในช่วงฤดูหนาวมีความใสเคลียร์เหมาะแก่การถ่ายภาพในยามค่ำคืน ไม่ว่าจะเป็นภาพกลุ่มดาว เส้นแสงดาว วัตถุท้องฟ้าในห้วงอวกาศลึก หรือแม้แต่ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ต่าง ๆ และในช่วง 2-3 เดือนก่อน หลังจากที่ห่างหายจากการถ่ายภาพดวงดาวไปสักพักหนึ่ง เนื่องจากอยู่ในช่วงฤดูฝน
มาราธอนนี้เพื่อล่า "ทางช้างเผือก"
มาราธอนนี้เพื่อล่า "ทางช้างเผือก"
งานมาราธอนนี้ไม่มีผลแพ้ชนะ แต่สิ่งที่ได้คือทักษะในการเก็บภาพวัตถุท้องฟ้า ซึ่งไม่เพียงแต่ต้องมีความรู้พื้นฐานทางดาราศาสตร์ที่จำเป็น แต่ต้องมีสมรรถภาพร่างกายที่ทนต่อการอดหลับอดนอน และสภาพอากาศอันหนาวเย็นผิดไปจากฤดูร้อนอันระอุ3 นาที 23 วินาทีคือเวลาที่
การถ่ายภาพเพื่อบรรยายความรู้ทางดาราศาสตร์/ศุภฤกษ์ คฤหานนท์
การถ่ายภาพเพื่อบรรยายความรู้ทางดาราศาสตร์/ศุภฤกษ์ คฤหานนท์
ในช่วงนี้คงต้องบอกว่าเป็นช่วงฤดูแห่งการดูดาวก็คงไม่ผิดอะไร ส่วนตัวผมช่วงนี้จริงๆ ก็อยากออกไปถ่ายภาพดวงดาว หรือทางช้างเผือกเหมือนกันคนอื่นๆ แต่งานในช่วงนี้แต่ละวันในช่วงเย็นต้องให้บริการวิชาการทางดาราศาสตร์ เช่น การบรรยายความรู้เนื้อหาดาราศาสตร์ การจัดกิจกรรมค่ายดาราศาสตร์ และการจัดการจัดกิจกรรมดูดาวในภาคกลางคืนเกือบทุกวัน ซึ่งแต่ละครั้งในการจัดกิจกรรมนั้น สิ่งหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ประกอบกับการบรรยายได้เป็นอย่างดีก็คือ “ภาพถ่าย” นั่นเองครับ
ลงดอยมาสปอยล์ทริปถ่ายดาวมาราธอน
ลงดอยมาสปอยล์ทริปถ่ายดาวมาราธอน
สวัสดีครับ ต่อเนื่องจากคอลัมน์ก่อนหน้าที่ผมได้แนะนำทริปการถ่ายภาพแบบมาราธอนกันไปแล้ว สำหรับกิจกรรมนี้ก็มีชื่อว่า Astrophotography Marathon งานนี้จัดขึ้นโดยสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ ร่วมกับกองทัพอากาศ และบริษัท แคนนอน มาร์เก็ตติ้ง ประเทศไทย นับเป็นครั้งแรกของประเทศไทยก็ว่าได้ ที่มีการจัดในรูปแบบ “มาราธอน” ซึ่งเป็นการถ่ายภาพในรูปแบบต่างๆ ตามช่วงเวลาของท้องฟ้า